๑. การสืบสาน ส่งเสริม สนับสนุนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย | |
๑.๑ | สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยให้แก่ นักศึกษา บุคลากร และชุมชนท้องถิ่น |
๑.๒ | ส่งเสริมการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย กับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ |
๑.๓ | ส่งเสริม สนับสนุนการจัดโครงการ/กิจกรรมวันสำคัญของชาติ และวันสำคัญทาง ศาสนา เพื่อให้นักศึกษา บุคลากร มีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม |
๒. การยกระดับแหล่งการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น | |
๒.๑ | มีแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการสืบสาน และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย |
๒.๒ | ส่งเสริมการค้นคว้า รวบรวมองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
๒.๓ | ส่งเสริมการเผยแพร่องค์ความรู้ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สาธารณชน |
๒.๔ | พัฒนาหอวัฒนธรรมจังวัดนครสวรรค์ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมในท้องถิ่น |
๓. การส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนานวัตกรรม ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น | |
๓.๑ | ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนานวัตกรรมด้าน ศิลปวัฒนธรรมให้กับชุมชนท้องถิ่น |
๓.๒ | สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม ด้านศิลปวัฒนธรรมเพื่อสร้างประโยชน์หรือ มูลค่าเพิ่มให้ชุมชนท้องถิ่น |
๔. การพัฒนาฐานข้อมูล และสารสนเทศทางศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น | |
๔.๑ | พัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อการศึกษาค้นคว้า |
๔.๒ | พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเผยแพร่ข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น |
๕. การสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม | |
๕.๑ | สร้างภาคีเครือข่ายเครือข่ายความร่วมมือในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับองค์กร ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย |
๕.๒ | ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินโครงการ/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมกับ เครือข่ายความร่วมมือ |
๖. การยกระดับการบริหารจัดการให้มีคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล | |
๖.๑ | พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ |
๖.๒ | ส่งเสริม สนับสนุนบุคลากรให้มีการพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน |