:: ชื่อหน่วยงาน และประวัติความเป็นมา
:: หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
:: สถานที่ตั้ง
:: ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
:: อาคาร สถานที่ ห้องปฏิบัติการ
:: วัสดุ อุปกรณ์ / ครุภัณฑ์
:: งบประมาณ
:: โครงสร้างการบริหารงาน
:: บุคลากร
:: วัฒนธรรมองค์กรของสำนักฯ
:: เป้าหมายและภารกิจในการประกันคุณภาพ
การศึกษา

:: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
:: สรุปผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
ปีการศึกษา ๒๕๕๘

:: ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการ
ประเมินประจำปีการศึกษา ๒๕๕๘

:: สรุปผลการประเมินตนเองปีการศึกษา ๒๕๕๙
ตัวบ่งชี้เพื่มเติม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ ๒. การส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
แก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา

          
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

     ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีความสําคัญที่ควรได้รับการพัฒนาอย่างเข้าใจเพื่อให้มีศักยภาพในการเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ผู้สนใจทั้งจากภายในและภายนอกชุมชนอย่างเต็มที่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ชุมชนหากสอดคล้องกับวิธีการดํารงอยู่ของชุมชนจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาคนเพื่อให้เกิดจิตสํานึกรักชุมชนและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการส่งเสริมความรู้ให้ชุมชนในด้านศิลปะและวัฒนธรรมจึงเป็นสิ่งสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน ส่งเสริมด้านศิลปะและวัฒนธรรม อีกทั้งยังสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับชุมชนท้องถิ่นของตนได้

      อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ถือเป็นบุคคลที่จะต้องให้ความสำคัญในการดำเนินภารกิจด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของสำนักฯ ดังนั้นการส่งเสริมความรู้ให้กับอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในด้านศิลปะและวัฒนธรรมจึงเป็นสิ่งสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน ส่งเสริมด้านศิลปะและวัฒนธรรม อีกทั้งยังสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์กับการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานได้


เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ

       
    ๑. มีแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา
    ๒. มีการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา
    ๓. กำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา
    ๔. ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา
    ๕. นำผลการประเมินมาเป็นข้อพิจารณาในการปรับปรุงแผนหรือกิจกรรม/โครงการ
                    

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน  ๑

คะแนน   ๒

คะแนน   ๓

คะแนน ๔

คะแนน ๕

มีการดำเนินการ

๑ ข้อ

มีการดำเนินการ

๒ ข้อ

มีการดำเนินการ

๓ ข้อ

มีการดำเนินการ

๔ ข้อ

มีการดำเนินการ

๕ ข้อ



การประเมินตนเอง (SAR)

 
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ : รศ.ดร.สุชาติ แสงทอง เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๖ 
  ดร.รุ่งรัตติกาล  ม่วงไหม เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๗ 
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล : นางสาวศิรินุช  ครุฑธกะ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๔๖
  นางศุภลักษณ์  ใจเยี่ยม  
 
เกณฑ์มาตรฐาน :

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
หลักฐาน

มีแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา

     ผลดำเนินการ

        สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดทำแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ โดยมีการระบุรายละเอียดกิจกรรม/โครงการที่จะดำเนินงาน (๒-NSRU_OC-๑/๑)






๒-NSRU_OC-๑/๑
  แผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙



มีการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา

     ผลดำเนินการ

    มีการจัดกิจกรรม/โครงตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน ๘ โครงการ ดังนี้
    ๑. โครงการบริการวิชาการ  เรื่องอบรมภาวะผู้นำทางคุณธรรมจริยธรรมแก่นักศึกษาแกนนำ Youth Ethic Moral leadership Training Camp. ระหว่างวันที่ ๑๖ – ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมชั้น ๑ คณะเทคโนโลยี การเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    ๒. โครงการเสวนาทางวิชาการ “สานสุนทรีย์ สี่แควศิลป์ : มองอดีต ปัจจุบัน ผ่านดนตรี กวี ศิลป์ ประวัติศาสตร์ ภาพถ่ายนครสวรรค์” เมื่อวันเสาร์ที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๙ ณ  ลาน Event Hall ชั้น ๑ ห้างสรรพสินค้าแฟรี่แลนด์  
    ๓. โครงการบริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม เรื่อง “อ่าน เขียน ขับขาน กวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย” วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมอมราวดี อาคาร ๑๔ ชั้น ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    ๔. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้และบริหารงานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ เมื่อวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ พิพิธภัณฑ์ไทดำฆะมัง ตำบลฆะมัง อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์
    ๕. โครงการการประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ ๗“เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนความหลากหลายทางมรดกชาติพันธุ์” The 7th International Conference on Arts and Cultures in Creative Economy 2017 : A Variety of Ethnic Heritage ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๐ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
    ๖. โครงการสร้างจิตสำนึกในการบูรณาการการเรียนการสอนด้านศิลปะและวัฒนธรรม : ภูมิปัญญาการแพทย์แผนโบราณในการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพทางเลือก เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมบุญชู  โรจนเสถียร อาคารหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
    ๗. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “มหาวิทยาลัยกับการบริหารจัดการงานด้านศิลปวัฒนธรรม” ระหว่างวันที่ ๖ – ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมเพ็ชรงอก ชั้น ๔ โรงแรมเบเวอร์ลี่ ฮิลล์ ปาร์ค จังหวัดนครสวรรค์
    ๘. โครงการบริการวิชาการ หัวข้อ “บนเส้นทางชีวิตและ ความดี ศิลปินแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยา” เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมอมราวดี อาคาร ๑๔ ชั้น ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
(๒-NSRU_OC-๑/๒)



            


 





๒-NSRU_OC-๑/๒
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการบริการวิชาการ  เรื่องอบรมภาวะผู้นำทางคุณธรรมจริยธรรมแก่นักศึกษาแกนนำ Youth Ethic Moral leadership Training Camp.
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเสวนาทางวิชาการ “สานสุนทรีย์ สี่แควศิลป์ : มองอดีต ปัจจุบัน ผ่านดนตรี กวี ศิลป์ ประวัติศาสตร์ ภาพถ่ายนครสวรรค์”
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการบริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม เรื่อง “อ่าน เขียน ขับขาน กวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย”
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดการความรู้และบริหารงานวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการการประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ ๗“เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนความหลากหลายทางมรดกชาติพันธุ์” The 7th International Conference on Arts and Cultures in Creative Economy 2017 : A Variety of Ethnic Heritage
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการสร้างจิตสำนึกในการบูรณาการการเรียนการสอนด้านศิลปะและวัฒนธรรม : ภูมิปัญญาการแพทย์แผนโบราณในการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพทางเลือก
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “มหาวิทยาลัยกับการบริหารจัดการงานด้านศิลปวัฒนธรรม”
  สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการบริการวิชาการ หัวข้อ “บนเส้นทางชีวิตและ ความดี ศิลปินแห่งลุ่มน้ำเจ้าพระยา”





 




กำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา

     ผลดำเนินการ

   มีการกำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ ดังนี้
   ๑. กำกับติดตามโดยผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ รอบ ๖ เดือน รอบ ๙ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน
   ๒. กำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ ผ่านการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม จำนวน ๓ ครั้ง ดังนี้
        ๑. ครั้งที่ ๓/๒๕๖๐ เมื่อวันพุธที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสี่พญา อาคารสำนักงานสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
         ๒. ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐ เมื่อวันจันทร์ที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสี่พญา อาคารสำนักงานสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
         ๓. ครั้งที่ ๕/๒๕๖๐ เมื่อวันพุธที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสี่พญา อาคารสำนักงานสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
(๒-NSRU_OC-๑/๓)





 




๒-NSRU_OC-๑/๓
  รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ รอบ ๖ เดือน   รอบ ๙ เดือน   และ รอบ ๑๒ เดือน
  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๓/๒๕๖๐  , ๔/๒๕๖๐  
และ ๕/๒๕๖๐





ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา

     ผลดำเนินการ

   มีการประเมินผลความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ได้มีการกำหนดตัวชี้วัดของแผน จำนวน ๔ ตัวชี้วัด มีการดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ทั้งหมด ๔ ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ดังนี้ (๒-NSRU_OC-๑/๔)

ตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
จำนวนกิจกรรม/โครงการการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม แก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ไม่น้อยกว่า ๓ กิจกรรม/โครงการ มีการจัดกิจกรรม/โครงการการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรม แก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา จำนวน ๘ กิจกรรม/โครงการ
ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามวัตถุประสงค์ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามวัตถุประสงค์ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ร้อยละ ๑๐๐
ร้อยละความรู้ความเข้าใจ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ร้อยละความรู้ความเข้าใจ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ร้อยละ ๙๑.๓๗
ร้อยละการนำความรู้ไปใช้ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ ร้อยละการนำความรู้ไปใช้จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ร้อยละ ๘๙.๘๓




 




๒-NSRU_OC-๑/๔
   รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึก
ษา ๒๕๕๙




         

นำผลการประเมินมาเป็นข้อพิจารณาในการปรับปรุงแผนหรือกิจกรรม/โครงการ

     ผลการดำเนินการ

   นำผลการดำเนินงานตามแผนการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๙ เข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๕/๒๕๖๐ เมื่อวันพุธที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสี่พญา อาคารสำนักงานสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ให้คณะกรรมการพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ เพื่อมาใช้ในการปรับปรุงแผน กิจกรรม/โครงการการส่งเสริมสนับสนุนการให้ความรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่ชุมชนท้องถิ่น อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในปีถัดไปให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น(๒-NSRU_OC-๑/๕)

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 

 




๒-NSRU_OC-๑/๕
  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๕/๒
๕๖๐




 



 
การประเมินตนเองปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๔ ข้อ
๕ ข้อ
บรรลุเป้าหมาย
 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้