:: ชื่อหน่วยงาน และประวัติความเป็นมา
:: หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
:: สถานที่ตั้ง
:: ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
:: อาคาร สถานที่ ห้องปฏิบัติการ
:: วัสดุ อุปกรณ์ / ครุภัณฑ์
:: งบประมาณ
:: โครงสร้างการบริหารงาน
:: บุคลากร
:: วัฒนธรรมองค์กรของสำนักฯ
:: เป้าหมายและภารกิจในการประกันคุณภาพ
การศึกษา

:: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
:: สรุปผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
ปีการศึกษา ๒๕๕๘

:: ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการ
ประเมินประจำปีการศึกษา ๒๕๕๘

:: สรุปผลการประเมินตนเองปีการศึกษา ๒๕๕๙
ตัวบ่งชี้เพื่มเติม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ ๓. การส่งเสริมเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมในระดับชาติหรือนานาชาติ           
ชนิดตัวบ่งชี้ : ปัจจัยนำเข้า
คำอธิบายตัวบ่งชี้

     บทความวิชาการ หมายถึง งานเขียนวิชาการซึ่งมีการวิเคราะห์ประเด็นตามหลักวิชาการโดยมีการสำรวจวรรณกรรมและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นนั้นได้ โดยรูปแบบประกอบด้วยการนำความที่แสดงเหตุผลหรือที่มีของประเด็นที่ต้องการอธิบายหรือวิเคราะห์ กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะห์และบทสรุป มีการอ้างอิงบรรณานุกรมที่ครบถ้วนและสมบูรณ์

     บทความวิจัย หมายถึง เป็นบทความที่เป็นผลงานต่อเนื่อง สกัดมาจากงานวิจัย บทความประเภทนี้เป็นบทความที่ประมวลสรุปกระบวนการวิจัยให้มีความกระชับและสั้นสำหรับนำเสนอ ในในวารสาร สื่อสิ่งพิมพ์ หรือที่ประชุมสัมมนา โดยการพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยต้องผ่านการตรวจสอบเนื้อหาสาระ และรูปแบบการจัดพิมพ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของวารสาร หรือคณะกรรมการประเมิน



เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ

    เกณฑ์
         จำนวนบทความวิชาการ/บทความวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ
    คะแนน
    คะแนน ๑  :  มีการเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัย ๑ เรื่อง
    คะแนน ๒  :  มีการเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัย ๒ เรื่อง
    คะแนน ๓  :  มีการเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัย ๓ เรื่อง
    คะแนน ๔  :  มีการเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัย ๔ เรื่อง
    คะแนน ๕  :  มีการเผยแพร่บทความวิชาการ/บทความวิจัย ๕ เรื่อง


เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน  ๑

คะแนน   ๒

คะแนน   ๓

คะแนน ๔

คะแนน ๕

มีการเผยแพร่ ๑ เรื่องการ

มีการเผยแพร่ ๒ เรื่อง

มีการเผยแพร่ ๓ เรื่องการ

มีการเผยแพร่ ๔ เรื่อง

มีการเผยแพร่ ๕ เรื่อง




การประเมินตนเอง (SAR)

 
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ : รศ.ดร.สุชาติ แสงทอง เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๖ 
  ดร.รุ่งรัตติกาล  ม่วงไหม เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๗ 
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล : นางสาวศิรินุช  ครุฑธกะ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๔๖
  นางศุภลักษณ์  ใจเยี่ยม  
 
เกณฑ์มาตรฐาน :

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน
หลักฐาน

จำนวนบทความวิชาการ/บทความวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ

     ผลดำเนินการ

   มีการเผยแพร่ผลงานบทความทางวิชาการที่นำเสนอในรูปแบบบรรยาย (Oral) ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ ๗ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนความหลากหลายทางมรดกชาติพันธุ์” The 7th International Conference on Arts and Cultures in Creative Economy 2017 : A Variety of Ethnic Heritage ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๐             ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จำนวน ๖ เรื่อง ดังนี้
   ๑. The Breakthrough from Thailand 4.0 to Thailand 5.0 
ชื่อผู้วิจัย ศ.เกียรติคุณ ดร.อรรถ นันทจักร์
   ๒. Ethnic Feature Through Material Culture of The Black Tai (TAI DAM) In Vietnam  
ชื่อผู้วิจัย   Dr.Vi Van An   Vietnam Museum of Ethnology
   ๓. Cultural  Diversity  and Ethnicity in Nakhon Sawan Province : Tai Dam
ชื่อผู้วิจัย  รศ.ดร. สุชาติ  แสงทอง
   ๔. Relaxation Music  
ชื่อผู้วิจัย  รศ.ดร. สุชาติ  แสงทอง
   ๕. Ethnobotany of Tai Dam in Nakhon Sawan Province, Thailand.
ชื่อผู้วิจัย ผศ.ดร.สุภาวรรณ  วงค์คำจันทร์
   ๖. Current reality of documentary film making in Bangladesh: A perspective from creative economy
ผู้วิจัย Mr. Ahmed Abid and Mr. Saurav Hossain
   ผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ (Poster) ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จำนวน ๒ เรื่อง ดังนี้
   ๑. The Absorption Efficiency of the Activated Carbon Production
ผู้วิจัย  อ.อนุสรณ์  สินสะอาด 
   ๒. A Learning Approach to Community Empowerment in Thailand : A Case Study of Photo Novella and Applied Ethnography Combined
ผู้วิจัย  นางสาวศิรินุช  ครุฑธกะ
(๓-NSRU_OC-๑/๑)









๓-NSRU_OC-๑/๑
   หนังสือประชุมวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ ๗ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนความหลากหลายทางมรดกชาติพันธุ์” The 7th International Conference on Arts and Cultures in Creative Economy 2017 : A Variety of Ethnic Heritage
   บทความทางวิชาการที่นำเสนอในรูปแบบบรรยาย (Oral) จำนวน ๖ เรื่อง ดังนี้
   ๑. The Breakthrough from Thailand 4.0 to Thailand 5.0 
   ๒. Ethnic Feature Through Material Culture of The Black Tai (TAI DAM) In Vietnam  
   ๓. Cultural  Diversity  and Ethnicity in Nakhon Sawan Province : Tai Dam
   ๔. Relaxation Music  
   ๕. Ethnobotany of Tai Dam in Nakhon Sawan Province, Thailand.
   ๖. Current reality of documentary film making in Bangladesh: A perspective from creative economy
   ผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ (Poster) จำนวน ๒ เรื่อง ดังนี้
   ๑. The Absorption Efficiency of the Activated Carbon Production
   ๒. A Learning Approach to Community Empowerment in Thailand : A Case Study of Photo Novella and Applied Ethnography Combined


 
การประเมินตนเองปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๓
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
มีการเผยแพร่ ๔ เรื่อง
มีการเผยแพร่ ๘ เรื่อง
บรรลุเป้าหมาย
 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๓
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้