:: ชื่อหน่วยงาน และประวัติความเป็นมา
:: หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
:: สถานที่ตั้ง
:: ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
:: อาคาร สถานที่ ห้องปฏิบัติการ
:: วัสดุ อุปกรณ์ / ครุภัณฑ์
:: งบประมาณ
:: โครงสร้างการบริหารงาน
:: บุคลากร
:: วัฒนธรรมองค์กรของสำนักฯ
:: เป้าหมายและภารกิจในการประกันคุณภาพ
การศึกษา

:: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
:: สรุปผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔

:: ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการ
ประเมินประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔

:: สรุปผลการประเมินตนเองปีการศึกษา ๒๕๖๕
ตัวบ่งชี้เพื่มเติม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้เพิ่มเตมที่ ๑. ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์
          
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

          หอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์ เป็นศูนย์กลางในการรวบรวม ค้นคว้า ศึกษา เผยแพร่ และอนุรักษ์ข้อมูลด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โบราณคดี แหล่งศิลปหัตถกรรม แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม การละเล่นพื้นบ้าน และประเพณีท้องถิ่นของชาวจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  รวมทั้งเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งอ้างอิงทางวิชาการด้านศิลปะและวัฒนธรรม เป็นศูนย์กลางคลังข้อมูลภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น และเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนและพัฒนาการเรียนรู้ทั้งในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ

เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ
       
    ๑. มีแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์
    ๒. มีการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์
    ๓. กำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์
    ๔.
    ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์และบรรลุผลตามเป้าหมายของแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
    ๕. นำผลการประเมินมาเป็นข้อพิจารณาในการปรับปรุงแผนหรือกิจกรรม/โครงการ

                    
เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน  ๑

คะแนน   ๒

คะแนน   ๓

คะแนน ๔

คะแนน ๕

มีการดำเนินการ

๑ ข้อ

มีการดำเนินการ

๒ ข้อ

มีการดำเนินการ

๓ ข้อ

มีการดำเนินการ

๔ ข้อ

มีการดำเนินการ

๕ ข้อ



การประเมินตนเอง (SAR)

 
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ ผศ.ธีรพร  พรหมมาศ เบอร์โทรภายใน : ๑๔๒๕
  ผศ.ทัศนีพร  วิศาลสุวรรณกร เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๗ 
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล : นายปริญญา  จั่นเจริญ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๔๗
  นางสาวศุภรสวรรค์ รอเพ็ชร์ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๕ 
 
เกณฑ์มาตรฐาน :

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน

มีแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์

   ผลดำเนินการ

   สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดทำแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ของสำนักฯ โดยมีคณะกรรมการดำเนินงานร่วมกันพิจารณากำหนดตัวชี้วัดค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสำเร็จตามแผน และมีการจัดสรรงบประมาณตามกิจกรรม/โครงการ ในการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ โดยมีรายละเอียดดังนี้

แผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕

     ประเด็นยุทธศาสตร์ที่  ๒  การยกระดับแหล่งการเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
     เป้าประสงค์  ๒  มีแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในท้องถิ่น
     กลยุทธ์ที่  ๒.๔  พัฒนาหอวัฒนธรรมจังวัดนครสวรรค์ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการท่องเที่ยว
ทางวัฒนธรรมในท้องถิ่น
     วัตถุประสงค์
     ๑. เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมให้เกิดองค์ความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรม
     ๒. เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของจังหวัดนครสวรรค์ ในการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์งานนิทรรศการด้านประวัติศาสตร์ความเป็นมา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้แก่คณาจารย์ เจ้าหน้าที่บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ประชาชน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
     ๓. เพื่อให้บริการข้อมูลและองค์ความรู้ ผ่านงานเอกสาร หนังสือตำรา งานวิจัย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องกับด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
     ตัวชี้วัด
     ๑. จำนวนโครงการ/กิจกรรมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ไม่น้อยกว่า ๒ กิจกรรม/โครงการ
     ๒. ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามวัตถุประสงค์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
     ๓. จำนวนผู้ใช้บริการและเยี่ยมชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ ไม่น้อยกว่า ๑,๕๐๐ คน
     ๔. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ไม่น้อยกว่า ๔.๐๐ คะแนน

     มีกิจกรรม/โครงการตามแผนทั้งหมด ๓ กิจกรรม/โครงการ ได้มีการจัดสรรงบประมาณหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ในการดำเนินกิจกรรม/โครงการ จำนวน ๑๘๖,๐๐๐ บาท ดังนี้

กิจกรรม/โครงการ

งบประมาณ

๑. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”

๕๐,๐๐๐ 

๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์

๖๐,๐๐๐

๓. กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม

๗๖,๐๐๐

     มีขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ดังนี้
     ๑. จัดทำแบบเสนอกิจกรรม/โครงการ
     ๒. ทำการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม/โครงการผ่านบันทึกข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์สำนักฯ Facebook สำนักฯ
     ๓. จัดทำแบบตอบรับการเข้าร่วมอบรมกิจกรรม/โครงการ เพื่อให้ทราบจำนวนผู้เข้าร่วมงาน
     ๔. จัดทำหนังสือขออนุญาตใช้สถานที่/หนังสือเชิญวิทยากร
     ๕. ทำเรื่องขอยืมเงินทดรองจ่าย
     ๖. ดำเนินการจัดอบรมกิจกรรม/โครงการหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
     ๗. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ เพื่อจัดเก็บข้อมูลความพึงพอใจ ความรู้ความเข้าใจ การนำความรู้ไปใช้ และข้อเสนอแนะ
     ๘. จัดทำหนังสือขอบคุณวิทยากร
     ๙. ส่งหลักฐานการจัดซื้อจัดจ้าง ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกิจกรรม/โครงการ
     ๑๐. จัดทำเล่มสรุปผลกิจกรรม/โครงการ เพื่อรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานทั้งหมดในแต่ละกิจกรรม/โครงการ

 

 

หลักฐาน
๑-NSRU_OC-๑/๑  แผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕

มีการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์

   ผลดำเนินการ

   มีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ดังนี้
   ๑. จัดทำแบบเสนอกิจกรรม/โครงการ ให้ผู้บริหารพิจารณา ดังนี้
       - จัดทำแบบเสนอกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
       - จัดทำแบบเสนอกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ  “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
       - จัดทำแบบเสนอกิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม
   ๒. ทำการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม/โครงการผ่านบันทึกข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์สำนักฯ Facebook สำนักฯ ดังนี้
       - กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์” มีการประชาสัมพันธ์ผ่านบันทึกข้อความไปยังคณะทั้ง ๕ คณะ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และหน่วยงานภายนอก ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ และ Facebook สำนักฯ
       - กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์ มีการประชาสัมพันธ์ผ่านบันทึกข้อความไปยังคณะทั้ง ๕ คณะ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และหน่วยงานภายนอก ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ และ Facebook สำนักฯ
   ๓. จัดทำแบบตอบรับการเข้าร่วมอบรมกิจกรรม/โครงการ เพื่อให้ทราบจำนวนผู้เข้าร่วมงาน ดังนี้
       - แบบตอบรับเข้าร่วมกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
       - แบบตอบรับเข้าร่วมกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   ๔. จัดทำหนังสือขออนุญาตใช้สถานที่/หนังสือเชิญวิทยากร ดังนี้
       - ทำหนังสือเชิญวิทยากร กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
       - ทำหนังสือเชิญวิทยากร กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   ๕. นำโครงการ/กิจกรรมที่จะดำเนินการทั้งหมดทำเรื่องขอยืมเงินทดรองจ่าย โดยมีรายละเอียดเอกสารแนบ ดังนี้
       - โครงการ
       - กำหนดการ
       - คำสั่ง
       - หนังสือเชิญวิทยากร
   ๖. ดำเนินการจัดอบรมกิจกรรม/โครงการหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน ๔ กิจกรรม/โครงการ ดังนี้
       - กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์” วันศุกร์ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร  อาคารหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
       - กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์ ระหว่างวันที่ ๘ - ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร อาคารหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  
   ๗. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ เพื่อจัดเก็บข้อมูลความพึงพอใจ ความรู้ความเข้าใจ การนำความรู้ไปใช้ และข้อเสนอแนะ ดังนี้
       - แบบประเมินความพึงพอใจกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
       - แบบประเมินความพึงพอใจกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   ๘. จัดทำหนังสือขอบคุณวิทยากร หลังจากดำเนินกิจกรรม/โครงการเรียบร้อยแล้ว ดังนี้
       - หนังสือขอบคุณวิทยากร กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
       - หนังสือขอบคุณวิทยากร กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   ๙. ส่งหลักฐานการจัดซื้อจัดจ้าง ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานกิจกรรม/โครงการ โดยมีรายละเอียดเอกสารแนบ ดังนี้
       - โครงการ
       - ใบเซ็นชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ
       - ใบเสร็จรับเงิน/บิลเงินสด
       - ใบสำคัญรับเงินวิทยากร
       - บัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับจ้าง/ผู้ขาย
   ๑๐. จัดทำเล่มสรุปผลกิจกรรม/โครงการ เพื่อรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานทั้งหมดในแต่ละกิจกรรม/โครงการ ดังนี้
       - สรุปผลกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
       - สรุปผลกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   มีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม/โครงการในการสร้างผลงานด้านศิลปวัฒนธรรม ดังนี้
   ๑. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์” วันศุกร์ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร  อาคารหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการบรรยายและสาธิตการทำข้าวโปง  การถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และการจัดเตรียมวัตถุดิบ และสาธิตการทำข้าวเม่าทอด  โดยวิทยากร ๑. นางสมปอง อินทับ นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์  ๒. นางบังอร  จูมลี  ๓. นางจารุวรรณ  อรรถอาภา  ๔. นางสุนทร  มีสอน  ให้กับกลุ่มบุคลากร ครู-อาจารย์ กลุ่มเยาวชนนักเรียน-นักศึกษา รวมถึงประชาชนผู้สนใจทั่วไป
   ๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์ ระหว่างวันที่ ๘ - ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร อาคารหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้และเทคนิคต่าง ๆ ของวงปีพาทย์มอญ และ “เปิงมาง” หรือ “เปิงมางคอก”  และการบูรณาการองค์ความรู้ ศิลปะการแสดง และเทคนิคต่าง ๆ ของวงปีพาทย์มอญ “เปิงมาง” โดยวิทยากร  ๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิติ  เอมโอด  ๒. นายทรงเกียรติ  จันทร์หอม  ๓. นายวิริยะ  สาระเกตุ  ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทธิรา  จันทร์ดี  ๕. นายณัฐวุฒิ  แสงดี  ให้กับกลุ่มบุคลากร ครู-อาจารย์ กลุ่มเยาวชนนักเรียน-นักศึกษา รวมถึงประชาชนผู้สนใจทั่วไป   
   ๓. กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม
       มีการผลิตสื่อออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน ๕ ชิ้นงาน ได้แก่
       ๑. การสร้างมูลค่าทางภูมิปัญญาสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์  
       ๒. ภูมิปัญญาวัฒนธรรมสู่นาฏยลักษณ์ระบำอินทราณีเทวีเมืองพระบาง
       ๓. ลิเกนครสวรรค์ : ส่องศิลป์สืบถิ่นไทย  
       ๔. นครสวรรค์ในเพลงลูกทุ่ง : ชวนเที่ยวนครสวรรค์ผ่านบทเพลง
       ๕. ชุมชนคุณธรรม : ขับเคลื่อนด้วยพลังบวรและศิลปะและวัฒนธรรมของชุมชน
       จากนั้นนำสื่อออนไลน์ทั้ง ๕ ชิ้นงานเผยแพร่ในช่องยูทูปของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ชื่อ สถานีวัฒนธรรม Arts and Culture NSRU 
       มีการจัดทำหนังสือศิลปวัฒนวิจักษ์ โดยรวบรวม เรียบเรียง ข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย จำนวน ๖ เรื่อง ได้แก่       
       ๑. องค์ความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ และศิลปกรรมท้องถิ่นสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์
       ๒. องค์ความรู้ เรื่อง พลิกโฉมศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ศิลป์ยุคใหม่
       ๓. องค์ความรู้ เรื่อง มอญในนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙
       ๔. องค์ความรู้ เรื่อง ของกิน...(นครสวรรค์) อันเนื่องมาจาก “ข้าว”
       ๕. องค์ความรู้ เรื่อง “ระบำภูษานาฏราชชนนี” : แนวคิดการแสดงและการเรียบเรียงดนตรี
       ๖. องค์ความรู้ เรื่อง เรียงร้อย ถ้อยเพลงจีน – ไทย สานอดีตสู่ความร่วมสมัยด้วยดนตรี
       จากนั้นมีการจัดทำหนังสือศิลปวัฒนวิจักษ์ เป็น E-BOOK เผยแพร่ผ่านช่องทาง Facebook สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


 

หลักฐาน
๑-NSRU_OC-๒/๑  สรุปผลกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
๑-NSRU_OC-๒/๒  สรุปผลกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
๑-NSRU_OC-๒/๓  สถานีวัฒนธรรม Arts and Culture NSRU    
https://www.youtube.com/@artsandculturensru8256/featured  

๑-NSRU_OC-๒/๔  Facebook สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://www.facebook.com/culturensru/?ref=embed_page


กำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์

    ผลดำเนินการ

    มีการกำกับติดตามแผนหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ ดังนี้
    ๑.  มีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนโดยรองผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ฝ่ายกิจกรรมส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลรับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ เสนอให้ทราบเป็นประจำทุกเดือน
    ๒.  มีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนโดยผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลรับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ เสนอให้ทราบเป็นประจำทุกรอบ ๖ เดือน รอบ ๙ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน
    ๓.  มีการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนผ่านการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อพิจารณาให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ดังนี้
         - การประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (รอบ ๖ เดือน)
         - การประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๓/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (รอบ ๙ เดือน)
         - การประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (รอบ ๑๒ เดือน)
    การดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๖ เดือน รอบ ๙ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน มีดังนี้
    รอบ ๖ เดือน
    จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๓  โครงการ
    บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๑  โครงการ
    คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓
    จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๔  ตัวชี้วัด
    บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๐  ตัวชี้วัด
    คิดเป็นร้อยละ ๐
    รอบ ๙ เดือน
    จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๓  โครงการ
    บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๒  โครงการ
    คิดเป็นร้อยละ ๖๖.๖๗
    จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๔  ตัวชี้วัด
    บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๒  ตัวชี้วัด
    คิดเป็นร้อยละ ๕๐
    รอบ ๑๒ เดือน
    จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๓  โครงการ
    บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๓  โครงการ
    คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
    จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๔  ตัวชี้วัด
    บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๔  ตัวชี้วัด
    คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐


 

หลักฐาน
๑-NSRU_OC-๓/๑  รายงานผลการดำเนินงานแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๖ เดือน รอบ ๙ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน
๑-NSRU_OC-๓/๒  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ , ๓/๒๕๖๖ และ ๔/๒๕๖๖


ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนหอวัฒนธรรม จังหวัดนครสวรรค์ และบรรลุผลตามเป้าหมายของแผนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

     ผลดำเนินการ

   มีการประเมินผลความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ โดยมีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อประเมินผลความสำเร็จของกิจกรรม/โครงการ และผลความสำเร็จของตัวชี้วัดตามแผน ดังนี้

กิจรรม/โครงการ

วัตถุประสงค์

ตัวชี้วัด

๑. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”

(/) วัตถุประสงค์ที่ ๑
( ) วัตถุประสงค์ที่ ๒
( ) วัตถุประสงค์ที่ ๓

(/) ตัวชี้วัดที่ ๑
(/) ตัวชี้วัดที่ ๒
( ) ตัวชี้วัดที่ ๓
( ) ตัวชี้วัดที่ ๔

๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์

(/) วัตถุประสงค์ที่ ๑
( ) วัตถุประสงค์ที่ ๒
( ) วัตถุประสงค์ที่ ๓

(/) ตัวชี้วัดที่ ๑
(/) ตัวชี้วัดที่ ๒
( ) ตัวชี้วัดที่ ๓
( ) ตัวชี้วัดที่ ๔

๓. กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม

(/) วัตถุประสงค์ที่ ๑
(/) วัตถุประสงค์ที่ ๒
(/) วัตถุประสงค์ที่ ๓

(/) ตัวชี้วัดที่ ๑
(/) ตัวชี้วัดที่ ๒
(/) ตัวชี้วัดที่ ๓
(/) ตัวชี้วัดที่ ๔


ตัวชี้วัด

ผลการดำเนินงาน

จำนวนโครงการ/กิจกรรมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ไม่น้อยกว่า ๒ กิจกรรม/โครงการ

มีการจัดโครงการ/กิจกรรมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน ๓ กิจกรรม/โครงการ

ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามวัตถุประสงค์ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐

ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรม/โครงการตามวัตถุประสงค์ จากกิจกรรม/โครงการทั้งหมด ร้อยละ ๑๐๐

จำนวนผู้ใช้บริการและเยี่ยมชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ไม่น้อยกว่า ๑,๕๐๐ คน

จำนวนผู้ใช้บริการและเยี่ยมชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน ๑,๘๑๒ คน

ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ไม่น้อยกว่า ๔.๐๐ คะแนน

ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ เฉลี่ย ๔.๔๐ คะแนน

   สรุปผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
   จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๓  กิจกรรม/โครงการ 
   บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๓  กิจกรรม/โครงการ 
   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
   จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๔  ตัวชี้วัด
   บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๔  ตัวชี้วัด
   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

   ข้อเสนอแนะจากผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ มีดังนี้
   ๑. สำนักฯ อาจจะจัดทำการนำชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ในรูปแบบออนไลน์
   ๒. สำนักฯ ควรจัดกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ชุมชนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป
   ๓. สำนักฯ ควรจัดทำเอกสารข้อมูลศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบออนไลน์
   ๔. ทำการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักศึกษาเข้ามาชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์



 

หลักฐาน
๑-NSRU_OC-๔/๑  รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
๑-NSRU_OC-๔/๒  สรุปผลการให้บริการห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร และการเยี่ยมชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์  ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
๑-NSRU_OC-๔/๓  สรุปผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้าชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕


นำผลการประเมินมาเป็นข้อพิจารณาในการปรับปรุงแผนหรือกิจกรรม/โครงการ   

     ผลการดำเนินการ

   ได้มีการนำผลการประเมินมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ดังนี้
   ๑. สำนักฯ ได้มีการจัดทำสื่อออนไลน์ เรื่องเล่าหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ และสื่อออนไลน์ที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของนครสวรรค์ ผ่านช่องทาง YouTube สถานีวัฒนธรรม Arts and Culture NSRU เพื่อเพิ่มช่องในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สำนักศิลปะและวัฒนธรรม และหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
   ๒. สำนักฯ ได้จัดตั้งงบประมาณในการสนับสนุนกิจกรรม/โครงการการบริการวิชาการ เรื่อง “การถอดองค์ความรู้แบบไทย-ไท”เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ชุมชนท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี
   ๓. สำนักฯ ได้มีการจัดทำเอกสารข้อมูลแบบออนไลน์ เช่น แผ่นพับหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ จดหมายข่าว หนังสือศิลปวัฒนวิจักร์ที่รวบรวมองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อประชาสัมพันธ์ให้กับนักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่บุคลากร นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไป
   ๔. สำนักฯ ได้มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้นักศึกษาทุกชั้นปีเข้ามาเยี่ยมชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์

                                                                                                                                                                             

 

หลักฐาน
๑-NSRU_OC-๕/๑  (ร่าง) แผนการดำเนินงานหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖

 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีที่แล้ว

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๔ ข้อ
๔ ข้อ
บรรลุเป้าหมาย
 
การประเมินตนเองปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๔ ข้อ
๕ ข้อ
บรรลุเป้าหมาย
 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๔ ข้อ