:: ชื่อหน่วยงาน และประวัติความเป็นมา
:: หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
:: สถานที่ตั้ง
:: ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
:: อาคาร สถานที่ ห้องปฏิบัติการ
:: วัสดุ อุปกรณ์ / ครุภัณฑ์
:: งบประมาณ
:: โครงสร้างการบริหารงาน
:: บุคลากร
:: วัฒนธรรมองค์กรของสำนักฯ
:: เป้าหมายและภารกิจในการประกันคุณภาพ
การศึกษา

:: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
:: สรุปผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔

:: ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการ
ประเมินประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔

:: สรุปผลการประเมินตนเองปีการศึกษา ๒๕๖๕
ตัวบ่งชี้เพื่มเติม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ ๒. ระบบและกลไกด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
          
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้

    สถาบันอุดมศึกษามีนโยบาย แผนงาน โครงสร้าง และการบริหารจัดการด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ทั้งการอนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา เผยแพร่ ถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามจุดเน้นของสถาบัน เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หรือการสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่มให้กับผู้เรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติอย่างยั่งยืนลงานทางศิลปะและวัฒนธรรมที่ดีงาม

เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ

       
    ๑.
    กำหนดนโยบายและทิศทางการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเพื่อการพัฒนาต่อยอดและสร้างคุณค่า ตามจุดเน้นของสถาบัน
    ๒. จัดทำแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน รวมทั้งจัดสรรงบประมาณเพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามแผน
    ๓. มีการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรม กับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ ซึ่งนำไปสู่การสืบสานการสร้างความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรม
    ๔. กำกับติดตามให้มีการดำเนินงาน และประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และรายงานต่อผู้บริหารสถาบัน
    ๕. นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
    ๖. เผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยต่อสาธารณชน
    ๗. มีผลงานการสร้างแหล่งเรียนรู้หรือชุมชนต้นแบบหรือองค์ความรู้หรือนวัตกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยให้สอดรับกับสังคมสมัยใหม่
    ๘. กำหนดหรือสร้างมาตรฐานด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

     


                    

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน  ๑

คะแนน   ๒

คะแนน   ๓

คะแนน ๔

คะแนน ๕

มีการดำเนินการ

๑ ข้อ

มีการดำเนินการ

๒ ข้อ

มีการดำเนินการ

๓ - ๔ ข้อ

มีการดำเนินการ

๕ - ๖ ข้อ

มีการดำเนินการ

๗ - ๘ ข้อ



การประเมินตนเอง (SAR)

 
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ ผศ.ธีรพร  พรหมมาศ เบอร์โทรภายใน : ๑๔๒๕
  ผศ.ชุณษิตา  นาคภพ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๗ 
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล : นางสาวศุภรสวรรค์  รอเพ็ชร์ บอร์โทรภายใน : ๑๑๓๕
 
เกณฑ์มาตรฐาน :

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน

กำหนดนโยบายและทิศทางการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเพื่อการพัฒนาต่อยอดและสร้างคุณค่า ตามจุดเน้นของสถาบัน

     ผลดำเนินการ

    สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้กำหนดนโยบายและทิศทางการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเพื่อการพัฒนาต่อยอดและสร้างคุณค่า ตามจุดเน้นของมหาวิทยาลัยด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านศิลปะและวัฒนธรรมได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม เรื่อง วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมอบหมายให้สำนักศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานหลักในการให้การสนับสนุน ส่งเสริม ร่วมมือกับคณะและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินงานตามนโยบาย โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

   นโยบาย ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
          แนวทางการดำเนินงาน
          ๑.๑  ส่งเสริมสนับสนุนการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรม กับการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ซึ่งนำไปสู่การสืบสาน การสร้างความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
          ๑.๒  ส่งเสริมสนับสนุนการจัดทำองค์ความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
          ๑.๓  ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน และพัฒนาการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาต่อยอดและสร้างคุณค่า
          ๑.๔  มีการสร้างความร่วมมือในการจัดกิจกรรม/โครงการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กับชุมชนในท้องถิ่น
          ๑.๕  มีการจัดทำฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
          ๑.๖  มีการเผยแพร่ข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

 


 

หลักฐาน
๒-NSRU-๑/๑  ประกาศสำนักศิลปะและวัฒนธรรม เรื่อง นโยบายด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


จัดทำแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน รวมทั้งจัดสรรงบประมาณเพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามแผน

     ผลดำเนินการ    

   สำนักศิลปะและวัฒนธรรมจัดทำแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ สำนักฯ ได้จัดประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๗/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เพื่อจัดทำแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยคณะกรรมการร่วมกันพิจารณากำหนดตัวชี้วัดค่าเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ เพื่อวัดความสำเร็จตามแผน และมีการจัดสรรงบประมาณตามกิจกรรม/โครงการ ในการดำเนินงานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

แผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕

ประเด็นยุทธศาสตร์
การสร้างสรรค์การวิจัย พัฒนานวัตกรรมและพันธกิจสัมพันธ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
เป้าประสงค์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านศิลปะและวัฒนธรรมได้รับการอนุรักษ์ฟื้นฟูให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
๒. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอดข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๓. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน กิจกรรม
นักศึกษา หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ
๔. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือบริการด้านศิลปวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๖. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ดังนี้


ตัวชี้วัด

เป้าหมาย ๖๕

๑. มีกิจกรรมการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๓ กิจกรรม/โครงการ

๒. มีกิจกรรมการอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอดข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๗ กิจกรรม/โครงการ

๓. มีกิจกรรมการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน กิจกรรมนักศึกษา หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ

๔ กิจกรรม/โครงการ

๔. มีการจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๖ องค์ความรู้

๕. มีการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๓ ช่องทาง

๖. มีแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

๑ แหล่ง

  
                                กิจกรรม/โครงการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ดังนี้


กิจกรรม/โครงการ

งบประมาณ

๑. กิจกรรมการแข่งขันเล่านิทานพื้นบ้านนครสวรรค์ (นิทานประจำถิ่น)

๓๐,๒๐๐

๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”

๕๐,๐๐๐

๓. กิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์

๗๒,๐๐๐

๔. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีและการปรับวงดนตรีไทย”

๑๐๐,๐๐๐

๕. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์

๖๐,๐๐๐

๖. กิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การอบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์

๑๓,๐๐๐

๗. กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การผลิตเอกสารวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์

๒๐,๐๐๐

๘. กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การสืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์

๑๘๐,๐๐๐

๙. กิจกรรมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น

๘๐,๐๐๐

๑๐. กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : “เครื่องประดับแฮนด์เมด”

๓๐,๐๐๐

๑๑. กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : การสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม

๕๐,๐๐๐

๑๒. กิจกรรมการประกวดออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ทางด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มมูลค่า ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่น และการออกแบบมาสคอตจังหวัดนครสวรรค์

๑๐๐,๐๐๐

๑๓. กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม

๗๖,๐๐๐

๑๔. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์)

๘๐,๐๐๐

๑๕. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนศรีสโมสรวิทยา) : สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอหนองมะโมง  จังหวัดชัยนาท

๘๐,๐๐๐

๑๖. โครงการ : ศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน กิจกรรม : ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน

๒๔๘,๖๐๐

รวมทั้งหมด

๑,๒๖๙,๘๐๐


 


 

หลักฐาน
๒-NSRU-๒/๑  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๗/๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
๒-NSRU-๒/๒  แผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕



มีการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรม กับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ ซึ่งนำไปสู่การสืบสานการสร้างความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรม

     ผลดำเนินการ

   สำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้มีการส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินกิจกรรม/โครงการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรม กับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ ซึ่งนำไปสู่การสืบสานการสร้างความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรม ดังนี้

   ด้านการบริการวิชาการ
   สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
   ๑. กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การสืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ วันเสาร์ที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ บริเวณลานเวทีกลาง ลานมังกรทอง อุทยานสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ “เรื่องเล่าชาวจีนปากน้ำโพ”  โดยวิทยากร ๑. คุณสมศักดิ์ อรุณสุรัตน์ (ประธานสภาเทศบาลนครนครสวรรค์)  ๒. คุณสันติ คุณาวงศ์ (กรรมการประจำสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์) ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ แสงทอง (คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์) ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทัศนีพร วิศาลสุวรรณกร (รองผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์)  ให้กับชาวนครสวรรค์และบุคคลทั่วไป
   ๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์” วันศุกร์ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร  อาคารหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการบรรยายและสาธิตการทำข้าวโปง  การถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และการจัดเตรียมวัตถุดิบ และสาธิตการทำข้าวเม่าทอด  โดยวิทยากร ๑. นางสมปอง อินทับ นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์  ๒. นางบังอร  จูมลี  ๓. นางจารุวรรณ  อรรถอาภา  ๔. นางสุนทร  มีสอน  ให้กับกลุ่มบุคลากร ครู-อาจารย์ กลุ่มเยาวชนนักเรียน-นักศึกษา รวมถึงประชาชนผู้สนใจทั่วไป
   ๓. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์) ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ หอประชุม โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์ อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปะการจับจีบผ้า การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก การทำขนมลูกชุบ และการทำโมเดลทำมือ  โดยวิทยากร ๑. นายอริสรา ไทยรัตนกุล  ๒. นายพีระพงษ์  จิตอามาตย์  ๓. นางสาคร  ดีปานแก้ว  ๔. นางวรรณรัตน์  พุ่มพวง  ๕. นายณัฐดนัย  รื่นภิรมย์  ๖. นางสาวพนิดา  อิ่มเงิน  ให้กับนักเรียน  คุณครูและผู้ปกครอง
   ๔. กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : “เครื่องประดับแฮนด์เมด” วันพฤหัสบดีที่ ๑๖  กุมภาพันธ์  พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู  โรจนเสถียร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและฝึกปฏิบัติทำเครื่องประดับจากงานปั้น และการออกแบบและฝึกปฏิบัติทำเครื่องประดับจากเชือกถัก  โดยวิทยากร ๑. ผศ.ดร.ยุวดี ทองอ่อน  ๒. ผศ.ดร.สุจิตรา อยู่หนู  ให้กับกลุ่มบุคลากร ครู-อาจารย์ กลุ่มเยาวชนนักเรียน-นักศึกษา รวมถึงประชาชนผู้สนใจทั่วไป
   ๕. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนศรีสโมสรวิทยา) : สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท ระหว่างวันที่ ๑๕ – ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖  ณ  หอประชุมมณเฑียร โรงเรียนศรีสโมสรวิทยา อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการปักผ้าทอพื้นเมือง  การทำไม้กวาดดอกหญ้า  ศิลปะการรำลาวครั่งกุดจอก  โดยวิทยากร ๑. คุณสมพิศ  อ่อนสิงห์  ๒. คุณไพรรี  วงษ์นุ่ม  ๓. คุณสุภาวดี  จันทร์ศรี  ๔.คุณสายฝน  ศรีนางแย้ม  ๕. คุณอรุณ  สีคาวี  ๖. คุณนิยดา  พลายอินทร์  ๗. คุณอรัญญา  ช้างหัวหน้า  ๘. คุณสมมาต  ยุซิ  ๙. คุณรังษินี  โชคลาภ  ให้กับนักเรียนโรงเรียนศรีสโมสรวิทยา คุณครูและผู้ปกครอง
   ๖. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีและการปรับวงดนตรีไทย” ระหว่างวันที่ ๒๘ – ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมชอนตะวัน และห้องประชุมพระบาง ชั้น ๔ อาคาร ๑๕ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีไทย เทคนิคการปรับวงดนตรีไทย : กลุ่มเครื่องดีด เครื่องสีไทย เครื่องตี และเครื่องเป่าไทย และฝึกปฏิบัติ เรื่อง “บทเพลงเทิดพระเกียรติและบทเพลงพระราชนิพนธ ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และกลวิธีการบรรเลง”  โดยวิทยากร  ๑. อาจารย์ชิดพงษ์ ส่งเสริมวรกุล  ๒. อาจารย์วาคภัฏ ศรีวรพจน์  ๓. อาจารย์กฤติเดช อารมย์อุ่น  ๔. ร้อยตรีทรงศักดิ์ เสณีพงษ์  ๕. รองศาสตราจารย์ ดร.ภัทระ คมขำ  ๖. อาจารย์วรรณวลี คำพันธ์  ให้กับนักเรียน นักศึกษาในจังหวัดนครสวรรค์
   ๗. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ              “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์ ระหว่างวันที่ ๘ - ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ  ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร อาคารหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้และเทคนิคต่าง ๆ ของวงปีพาทย์มอญ และ “เปิงมาง” หรือ “เปิงมางคอก”  และการบูรณาการองค์ความรู้ ศิลปะการแสดง และเทคนิคต่าง ๆ ของวงปีพาทย์มอญ “เปิงมาง” โดยวิทยากร  ๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิติ  เอมโอด  ๒. นายทรงเกียรติ  จันทร์หอม  ๓. นายวิริยะ  สาระเกตุ  ๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัทธิรา  จันทร์ดี  ๕. นายณัฐวุฒิ  แสงดี  ให้กับกลุ่มบุคลากร ครู-อาจารย์ กลุ่มเยาวชนนักเรียน-นักศึกษา รวมถึงประชาชนผู้สนใจทั่วไป               
   ๘. กิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การอบรมเชิงปฏิบัติการ วันอังคารที่ ๑๓  มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖  ณ  สตูดิโอ ๕๖ ตำบลพระนอน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวความคิดการทำงานศิลปะ  การสร้างสรรค์ลายเส้น สู่งานศิลปะ  การออกแบบ และสร้างสรรค์แม่พิมพ์สำหรับทำภาพพิมพ์  และเทคนิคและกรรมวิธีทำภาพพิมพ์  โดยวิทยากร  คุณวัฒนโชติ  ตุงคะเตชะ  ศิลปินถิ่นสวรรค์ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๖  ให้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษา และผู้สนใจงานด้านศิลปะ
   ๙. โครงการ : ศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน กิจกรรม : ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๖ ณ หอประชุม โรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์  และวันศุกร์ ที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๖ ณ หอประชุม โรงเรียนตลุกดู่วิทยาคม อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี  มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ “มัคคุเทศก์น้อยเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน”  โดยวิทยากร  ๑. อาจารย์ชำมะเลียง  เชาว์ธรรม  ๒. อาจารย์เจนจิรา เงินจันทร์  ให้กับนักเรียนโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ และนักเรียนโรงเรียนตลุกดู่วิทยาคม จังหวัดอุทัยธานี

 

 

 

หลักฐาน
๒-NSRU-๓/๑  แผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕
๒-NSRU-๓/๒  สรุปกิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การสืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์
๒-NSRU-๓/๓  สรุปกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ "ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
๒-NSRU-๓/๔  สรุปโครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์)
๒-NSRU-๓/๕  สรุปกิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : “เครื่องประดับแฮนด์เมด”
๒-NSRU-๓/๖  สรุปโครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนศรีสโมสรวิทยา) : สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท
๒-NSRU-๓/๗  สรุปกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีและการปรับวงดนตรีไทย”
๒-NSRU-๓/๘  สรุปกิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
๒-NSRU-๓/๙  สรุปกิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การอบรมเชิงปฏิบัติการ
๒-NSRU-๓/๑๐  สรุปโครงการ : ศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน กิจกรรม : ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน


กำกับติดตามให้มีการดำเนินงาน และประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และรายงานต่อผู้บริหารสถาบัน

     ผลดำเนินการ

   การกำกับติดตาม
   สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมีการกำกับ ติดตาม การดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๖ เดือน รอบ ๙ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้ ดังนี้
   รอบ ๖ เดือน
   ๑. กำกับติดตามโดยผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกิจรรม/โครงการตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๖ เดือน
   ๒. กำกับติดตามผ่านการประชุม จำนวน ๑ ครั้ง ดังนี้
       - การประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
   ผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๖ เดือน มีดังนี้
   จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๑๖  โครงการ
   บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๑  โครงการ
   คิดเป็นร้อยละ ๖.๒๕

   จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๖  ตัวชี้วัด
   บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๐  ตัวชี้วัด
   คิดเป็นร้อยละ ๐

   งบประมาณที่ได้รับ จำนวน  ๑,๒๖๙,๘๐๐  บาท
   งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน  ๓๐,๒๐๐  บาท
   คิดเป็นร้อยละ ๒.๓๘  

   รอบ ๙ เดือน
   ๑. กำกับติดตามโดยผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกิจรรม/โครงการตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๙ เดือน
   ๒. กำกับติดตามผ่านการประชุม จำนวน ๑ ครั้ง ดังนี้
       - การประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๓/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
   ผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๙ เดือน มีดังนี้
   จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๑๖  โครงการ
   บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๑๑  โครงการ
   คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๗๕

   จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๖  ตัวชี้วัด
   บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๕  ตัวชี้วัด
   คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๓๓

   งบประมาณที่ได้รับ จำนวน  ๑,๒๖๙,๘๐๐  บาท
   งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน  ๗๙๘,๒๐๐  บาท
   คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๘๖     

   รอบ ๑๒ เดือน
   ๑. กำกับติดตามโดยผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการดำเนินงานกิจรรม/โครงการตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๑๒ เดือน
   ๒. กำกับติดตามผ่านการประชุม จำนวน ๑ ครั้ง ดังนี้
       - การประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
   ผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๑๒ เดือน มีดังนี้
   จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๑๖  โครงการ
   บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๑๖  โครงการ
   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

   จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๖  ตัวชี้วัด
   บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๖  ตัวชี้วัด
   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

   งบประมาณที่ได้รับ จำนวน  ๑,๒๖๙,๘๐๐  บาท
   งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน  ๑,๒๖๗,๙๖๘  บาท
   คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๘๖     

   การประเมินความสำเร็จ
   มหาวิทยาลัยโดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีการประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรม โดยมีการจัดทำรายงานสรุปผลความสำเร็จในการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ เพื่อประเมินผลความสำเร็จของกิจกรรม/โครงการ และผลความสำเร็จของตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ดังนี้

การประเมินผลความสำเร็จตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ดังนี้

ตัวชี้วัด

ผลการดำเนินงาน

๑. มีกิจกรรมการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

  มีกิจกรรมการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน ๔ กิจกรรม/โครงการ ดังนี้
   ๑. กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การผลิตเอกสารวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์
   ๒. กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การสืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์
   ๓. กิจกรรมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น
   ๔. กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม

๒. มีกิจกรรมการอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอดข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

   มีกิจกรรมการอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอดข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน ๑๒ กิจกรรม/โครงการ ดังนี้
   ๑. กิจกรรมการแข่งขันเล่านิทานพื้นบ้านนครสวรรค์ (นิทานประจำถิ่น)
   ๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
   ๓. กิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์
   ๔. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีและการปรับวงดนตรีไทย”
   ๕. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   ๖. กิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การอบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์
   ๗. กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : “เครื่องประดับแฮนด์เมด”
   ๘. กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : การสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม
   ๙. กิจกรรมการประกวดออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ทางด้านศิลปวัฒนธรรมเพิ่มมูลค่า ที่แสดงถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่น และการออกแบบมาสคอตจังหวัดนครสวรรค์
   ๑๐. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์)
   ๑๑. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนศรีสโมสรวิทยา) : สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอหนองมะโมง  จังหวัดชัยนาท
   ๑๒. โครงการ : ศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน กิจกรรม : ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน

๓. มีกิจกรรมการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน กิจกรรมนักศึกษา หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ

   มีกิจกรรมการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน กิจกรรมนักศึกษา หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ จำนวน ๙ กิจกรรม/โครงการ ดังนี้
   ด้านบริการวิชาการ
   ๑. กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์ เนื่องในโอกาสเทศกาลตรุษจีน ๒๕๖๖ : การสืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์
   ๒. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ข้าวโปงและข้าวเม่าทอด : วิถีศิลป์การกินอยู่ของชาวนครสวรรค์”
   ๓. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีและการปรับวงดนตรีไทย”
   ๔. กิจกรรมการถอดองค์ความรู้ แบบไทย – ไท ปีที่ ๕ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปิงมาง” ศิลปะการแสดง : วิถีศิลป์ถิ่นสวรรค์
   ๕. กิจกรรมการเชิดชูเกียรติศิลปินถิ่นสวรรค์ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์ : การอบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอดองค์ความรู้ศิลปินถิ่นสวรรค์
   ๖. กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : “เครื่องประดับแฮนด์เมด”
   ๗. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนหันคาราษฎร์รังสฤษดิ์)
   ๘. โครงการพัฒนาศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่เป็นเครือข่าย (โรงเรียนศรีสโมสรวิทยา) : สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอหนองมะโมง  จังหวัดชัยนาท
   ๙. โครงการ : ศูนย์การเรียนรู้เพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน กิจกรรม : ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรชุมชน

๔. มีการจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

   มีการจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน ๗ องค์ความรู้ ดังนี้
   ๑. องค์ความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ และศิลปกรรมท้องถิ่นสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์
   ๒. องค์ความรู้ เรื่อง พลิกโฉมศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ศิลป์ยุคใหม่
   ๓. องค์ความรู้ เรื่อง มอญในนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙
   ๔. องค์ความรู้ เรื่อง ของกิน...(นครสวรรค์) อันเนื่องมาจาก “ข้าว”
   ๕. องค์ความรู้ เรื่อง “ระบำภูษานาฏราชชนนี” : แนวคิดการแสดงและการเรียบเรียงดนตรี
   ๖. องค์ความรู้ เรื่อง เรียงร้อย ถ้อยเพลงจีน – ไทย สานอดีตสู่ความร่วมสมัยด้วยดนตรี
   ๗. องค์ความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์

๕. มีการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

   มีการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวน ๔ ช่องทาง ดังนี้
   ๑. มีการเผยแพร่กิจกรรม/โครงการ องค์ความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านทางจดหมายข่าว ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
   ๒. มีการเผยแพร่กิจกรรม/โครงการด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านทางเว็บไซต์ ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
   ๓. มีการเผยแพร่กิจกรรม/โครงการด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่าน facebook ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
   ๔. มีการเผยแพร่สื่อด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านสื่อออนไลน์ YouTube สถานีวัฒนธรรม Arts and Culture NSRU    

๖. มีแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่น

   มีแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑ แหล่ง ดังนี้
   ๑. แหล่งเรียนรู้โรงเรียนบ้านทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์


ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

บรรลุ/
ไม่บรรลุ

แผน

ผล

๑. มีกิจกรรมการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๓ กิจกรรม/โครงการ

๔ กิจกรรม/โครงการ

/

๒. มีกิจกรรมการอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอดข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๗ กิจกรรม/โครงการ

๑๒ กิจกรรม/โครงการ

/

๓. มีกิจกรรมการบูรณาการด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน กิจกรรมนักศึกษา หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการ

๔ กิจกรรม/โครงการ

๙ กิจกรรม/โครงการ

/

๔. มีการจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๖ องค์ความรู้

๗ องค์ความรู้

/

๕. มีการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

๓ ช่องทาง

๔ ช่องทาง

/

๖. มีแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

๑ แหล่ง

๑ แหล่ง

/

รวม

คิดเป็นร้อยละ

๑๐๐

   สรุปผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ มีดังนี้
   จำนวนกิจกรรม/โครงการ  ๑๖  โครงการ
   บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย  ๑๖  โครงการ
   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

   จำนวนตัวชี้วัดของแผน  ๖  ตัวชี้วัด
   บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย จำนวน  ๖  ตัวชี้วัด
   คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

   งบประมาณที่ได้รับ จำนวน  ๑,๒๖๙,๘๐๐  บาท
   งบประมาณที่ใช้ไป จำนวน  ๑,๒๖๗,๙๖๘  บาท
   คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๘๖     

   ข้อเสนอแนะจากผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ มีดังนี้
   ๑. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม/โครงการเกี่ยวกับด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นของท้องถิ่น และพัฒนาให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม
   ๒. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม/โครงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่น
   ๓. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการร่วมกับชุมชนในการพัฒนาอาชีพโดยนำศิลปะและวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน

 

 

หลักฐาน
๒-NSRU-๔/๑  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
๒-NSRU-๔/๒  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๓/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
๒-NSRU-๔/๒  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
๒-NSRU-๔/๓  รายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ รอบ ๖ เดือน รอบ ๙ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน

นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

     ผลการดำเนินการ

   สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ได้นำข้อเสนอแนะจากผลการดำเนินงานตามแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ไปพัฒนากิจกรรม/โครงการด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนปรับปรุงและพัฒนาแผนงานด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยในปีการศึกษา ๒๕๖๖  ดังนี้
   ผลการปรับปรุงแผน/กิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ จากข้อเสนอแนะของคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม มีดังนี้
   ๑. ในปีการศึกษา ๒๕๖๖ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดตั้งงบประมาณในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นของท้องถิ่น และพัฒนาให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ดังนี้
      ๑.๑ กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ศิลปะการบรรเลงเครื่องดนตรีและการปรับวงดนตรีไทย”
      ๑.๒ กิจกรรมการถอดองค์ความรู้แบบไทย-ไท ปีที่ ๖
      ๑.๓ กิจกรรมการแข่งขัน “เล่านิทานพื้นบ้านนครสวรรค์”
      ๑.๔ กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม
   ๒. ในปีการศึกษา ๒๕๖๖ สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีการจัดตั้งงบประมาณในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนี้
       ๒.๑ กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น
       ๒.๒ กิจกรรมรวบรวมข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น
   ๓. ในปีการศึกษา ๒๕๖๖ สำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้จัดตั้งงบประมาณในการจัดกิจกรรมบริการวิชาการให้กับชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพโดยนำศิลปะและวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน ดังนี้
      ๓.๑ กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม : การสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม
      ๓.๒ กิจกรรมการสร้างสรรค์มูลค่าผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม
      ๓.๓ โครงการศูนย์ยกระดับคุณภาพชุมชนและการศึกษา

 

                                                                                                                                                                                                                               

 

หลักฐาน
๒-NSRU-๕/๑  (ร่าง) แผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖

มีผลงานการสร้างแหล่งเรียนรู้หรือชุมชนต้นแบบ หรือองค์ความรู้ หรือนวัตกรรม ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยให้สอดรับกับสังคมสมัยใหม่

     ผลการดำเนินการ

   สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีผลงานการสร้างแหล่งเรียนรู้หรือชุมชนต้นแบบ หรือองค์ความรู้ หรือนวัตกรรม ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยให้สอดรับกับสังคมสมัยใหม่ ดังนี้ 
   แหล่งเรียนรู้
   แหล่งเรียนรู้โรงเรียนบ้านทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์   
   สำนักศิลปะและวัฒนธรรมและโรงเรียนบ้านทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์  ได้สร้างความร่วมมือเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน ซึ่งเป็นการบูรณาการร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย โรงเรียนบ้านทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ โดยมีการจัดทำนิทรรศการแหล่งเรียนรู้ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์นครสวรรค์  โดยมีข้อมูลประกอบนิทรรศการ ดังนี้  ข้อมูลวัดวัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์  ข้อมูลอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์  แผนที่อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์  ข้อมูลวัดทำนบ ตำบลทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์  ข้อมูลบ้านทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์  ข้อมูลโรงเรียนบ้านทำนบ  ข้อมูลตราสัญลักษณ์ประจำจังหวัดนครสวรรค์  คำขวัญประจำจังหวัด  ต้นไม้ประจำจังหวัดนครสวรรค์  ข้อมูลประวัติศาสตร์นครสวรรค์  งานประเพณีแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากน้ำโพ  ประเพณีการแข่งเรือยาว  งานประเพณีบุญกำฟ้า (เทกระจาดสารทพวน)  ประเพณีงานบุญข้าวแช่  ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา  วิถีศิลป์การกินอยู่  บึงบอระเพ็ด  อุทยานสวรรค์  ถ้ำเพชร – ถ้ำทอง  อุทยานแห่งชาติแม่วงก์  เขาหน่อ – เขาแก้ว  และทุ่งหินเทิน  ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนรู้ ที่ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพจากประสบการณ์ตรง สัมผัสและจับต้องได้ ทั้งนี้ความสำคัญของแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ไม่ได้มีเฉพาะต่อบุคคลในโรงเรียนเท่านั้น แต่ยังรวมถึงบุคคลทั่วไป ชุมชน และผู้ที่ศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาได้ใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ เพื่อดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และก่อให้เกิดการจารึกข้อมูลที่เป็นระบบด้วย เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะจากภายนอกห้องเรียน
   องค์ความรู้
   ๑. องค์ความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ และศิลปกรรมท้องถิ่นสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์
   ๒. องค์ความรู้ เรื่อง พลิกโฉมศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ศิลป์ยุคใหม่
   ๓. องค์ความรู้ เรื่อง มอญในนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙
   ๔. องค์ความรู้ เรื่อง ของกิน...(นครสวรรค์) อันเนื่องมาจาก “ข้าว”
   ๕. องค์ความรู้ เรื่อง “ระบำภูษานาฏราชชนนี” : แนวคิดการแสดงและการเรียบเรียงดนตรี
   ๖. องค์ความรู้ เรื่อง เรียงร้อย ถ้อยเพลงจีน – ไทย สานอดีตสู่ความร่วมสมัยด้วยดนตรี
   ๗. องค์ความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์

 

 

 

หลักฐาน
๒-NSRU-๖/๑  ภาพถ่ายแหล่งเรียนรู้โรงเรียนบ้านทำนบ อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ 
๒-NSRU-๖/๒  องค์ความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ และศิลปกรรมท้องถิ่นสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์
๒-NSRU-๖/๓  องค์ความรู้ เรื่อง พลิกโฉมศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ศิลป์ยุคใหม่
๒-NSRU-๖/๔  องค์ความรู้ เรื่อง มอญในนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙
๒-NSRU-๖/๕  องค์ความรู้ เรื่อง ของกิน...(นครสวรรค์) อันเนื่องมาจาก “ข้าว”
๒-NSRU-๖/๖  องค์ความรู้ เรื่อง “ระบำภูษานาฏราชชนนี” : แนวคิดการแสดงและการเรียบเรียงดนตรี
๒-NSRU-๖/๗  องค์ความรู้ เรื่อง เรียงร้อย ถ้อยเพลงจีน – ไทย สานอดีตสู่ความร่วมสมัยด้วยดนตรี
๒-NSRU-๖/๘  องค์ความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์



กำหนดหรือสร้างมาตรฐานด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

     ผลการดำเนินการ

  

      

 


  

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 

 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีที่แล้ว

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๖ ข้อ
๖ ข้อ
บรรลุเป้าหมาย
 
การประเมินตนเองปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๖ ข้อ
๖ ข้อ
บรรลุเป้าหมาย
 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ ๒
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๖ ข้อ