:: ชื่อหน่วยงาน และประวัติความเป็นมา
:: หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์
:: สถานที่ตั้ง
:: ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
:: อาคาร สถานที่ ห้องปฏิบัติการ
:: วัสดุ อุปกรณ์ / ครุภัณฑ์
:: งบประมาณ
:: โครงสร้างการบริหารงาน
:: บุคลากร
:: วัฒนธรรมองค์กรของสำนักฯ
:: เป้าหมายและภารกิจในการประกันคุณภาพ
การศึกษา

:: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
:: สรุปผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
ปีการศึกษา ๒๕๖๔

:: ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการ
ประเมินประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔

:: สรุปผลการประเมินตนเองปีการศึกษา ๒๕๖๕
ตัวบ่งชี้เพื่มเติม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ ๕. ผลลัพธ์ด้านศิลปะและวัฒนธรรมไทย
ชนิดตัวบ่งชี้ : ผลลัพธ์
คำอธิบายตัวบ่งชี้

     ผลลัพธ์ของการจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมทำให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทยหรือสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชน สังคม และประเทศชาติ

เกณฑ์มาตรฐาน :

         จำนวนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมที่ทำให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หรือสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่ม หรือนำไปใช้ประโยชน์ให้กับผู้เรียน ครอบครัว ท้องถิ่น ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มีการจัดทำฐานข้อมูลทางด้านศิลปวัฒนธรรมที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ เท่ากับ ๖ เรื่อง

เกณฑ์การประเมิน :

 

คะแนน ๑

คะแนน ๒

คะแนน ๓

คะแนน ๔

คะแนน ๕

จำนวนองค์ความรู้
๒ เรื่อง

จำนวนองค์ความรู้
๓ เรื่อง

จำนวนองค์ความรู้
๔ เรื่อง

 

จำนวนองค์ความรู้
๕ เรื่อง

จำนวนองค์ความรู้
๖ เรื่อง



การประเมินตนเอง (SAR)

 
ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ ผศ.ธีรพร  พรหมมาศ เบอร์โทรภายใน : ๑๔๒๕ 
 

ผศ.ชุณษิตา  นาคภพ

เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๗ 
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล : นายปริญญา  จั่นเจริญ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๔๗
  นางสาวศุภรสวรรค์ รอเพ็ชร์ เบอร์โทรภายใน : ๑๑๓๕ 
 
เกณฑ์มาตรฐาน :

ข้อ
เกณฑ์การประเมิน

จำนวนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม

     ผลดำเนินการ

   มีการจัดทำองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม จำนวน ๗ เรื่อง ดังนี้
   ๑. องค์ความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ และศิลปกรรมท้องถิ่นสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์
   ๒. องค์ความรู้ เรื่อง พลิกโฉมศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ศิลป์ยุคใหม่
   ๓. องค์ความรู้ เรื่อง มอญในนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙
   ๔. องค์ความรู้ เรื่อง ของกิน...(นครสวรรค์) อันเนื่องมาจาก “ข้าว”
   ๕. องค์ความรู้ เรื่อง “ระบำภูษานาฏราชชนนี” : แนวคิดการแสดงและการเรียบเรียงดนตรี
   ๖. องค์ความรู้ เรื่อง เรียงร้อย ถ้อยเพลงจีน – ไทย สานอดีตสู่ความร่วมสมัยด้วยดนตรี
   ๗. องค์ความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์


 

หลักฐาน
๕-NSRU_OC-๑/๑  องค์ความรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์ และศิลปกรรมท้องถิ่นสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์
๕-NSRU_OC-๑/๒  องค์ความรู้ เรื่อง พลิกโฉมศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์เชิงพาณิชย์ศิลป์ยุคใหม่
๕-NSRU_OC-๑/๓  องค์ความรู้ เรื่อง มอญในนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๙
๕-NSRU_OC-๑/๔  องค์ความรู้ เรื่อง ของกิน...(นครสวรรค์) อันเนื่องมาจาก “ข้าว”
๕-NSRU_OC-๑/๕  องค์ความรู้ เรื่อง “ระบำภูษานาฏราชชนนี” : แนวคิดการแสดงและการเรียบเรียงดนตรี
๕-NSRU_OC-๑/๖  องค์ความรู้ เรื่อง เรียงร้อย ถ้อยเพลงจีน – ไทย สานอดีตสู่ความร่วมสมัยด้วยดนตรี
๕-NSRU_OC-๑/๗  องค์ความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนในนครสวรรค์



 
 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีที่แล้ว

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่  ๕
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๕ เรื่อง
๗ เรื่อง
บรรลุเป้าหมาย
๕ คะแนน
 
 
การประเมินตนเองปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่  ๕
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๖ เรื่อง
๗ เรื่อง
บรรลุเป้าหมาย
๕ คะแนน
 
ผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินปีนี้

ตัวบ่งชี้
ผลการดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่  ๕
เป้าหมายที่กำหนด
ผลของเป้าหมายที่ได้
การบรรลุเป้าหมาย
ค่าคะแนนที่ได้
๕ เรื่อง